วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ระบบสุริยะ

........ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิสูงมาก แผ่พลังงานออกมาอย่างมหาศาล.....อ่านต่อ
........มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์ทั้งหลาย มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า แถมยังได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ.....อ่านต่อ
........ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ดวงที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์
เร็วที่สุด พื้นผิวของดาวพุธมีลักษณะคล้าย
ดวงจันทร์ โดยเฉพาะด้านไกลโลก.อ่านต่อ
........ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงาม เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็น วงแหวน ซึ่งทำให้ดาวเสาร์มีลักษณะแปลก
กว่าดาวดวงอื่นๆ............................อ่านต่อ
........ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่สอง มีขนาดใกล้เคียงกับโลก
จึงชื่อว่าเป็น"ฝาแฝดโลก"เป็นดาวเคราะห์
ที่ปรากฏสว่างที่สุด.........................อ่านต่อ
........ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์เท่านั้น
จึงสามารถมองเห็น..........................อ่านต่อ
........โลกมีอายุประมาณ 4,700 ปี หมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา365*1/4
วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ โลกไม่ได้ มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง .............................อ่านต่อ
........ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ในระบบสุริยะ อยู่ห่างไกลจากโลกมาก สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตา.............อ่านต่อ
........เป็นดาวเคราะห์ที่ได้รับความสนใจมากที่สุด ในบรรดาดาวเคราะห์บนฟ้าทั้ง
หมด เพราะเคยมีคนเชื่อว่า มีมนุษย์อยู่บนดาวเคราะห์สีแดงดวงนี้..................อ่านต่อ
........ดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ถูกค้นพบในปี 1930 สามารถมองเห็นได้โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่เท่านั้น ดาวพูลโต
เป็นดาวขนาดเล็กที่สุด....................อ่านต่อ
แหล่งข้อมูลอ้างอิง

[1] http://science.nasa.gov/headlines/y2009/17jun_jetstream.htm
[2] http://soi.stanford.edu/results/heliowhat.html
[3] http://wattsupwiththat.com/2009/06/17/solar-cycle-24-lack-of-sunspots-caused-by-sluggish-solar-jet-stream-returning-soon/
[4] http://www.astronomynow.com/090618mysteryofthemissingsunspotsexplained.html

http://www.absorn.ac.th/darasat%20solar%20system/index.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น